คือ เครื่องเรียงไลโนไทป์ (Linotype) ซึ่ง จะทำการเรียงทีละบรรทัดนิยมใช้ในงานทำแม่พิมพ์หนังสือพิมพ์ และเครื่องเรียงโมโนไทป์ (Monotype) ซึ่งเป็นเครื่องที่เรียงออกมาเป็นตัวต่อกันเป็นบรรทัด นิยมใช้ในงานทำแม่พิมพ์หนังสือ ใน ค.ศ.1898 ได้มีการประดิษฐ์เครื่องเรียงพิมพ์ด้วยแสงขึ้น(Phototypesetting) ใช้สร้างตัวพิมพ์แบบ “ตัวพิมพ์แบบเย็น” (Cold Type) นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาแม่พิมพ์พื้นนูนแบบแผ่นด้วยการใช้วิธีฉายแสงโดยใช้ น้ำยาไวแสงฉาบลงบนแผ่นโลหะที่ใช้เป็นแม่พิมพ์ ทำให้การทำแม่พิมพ์สะดวกขึ้นเครื่อง จักรที่ใช้พิมพ์แบบพื้นนูนในยุคแรก ๆ อาศัยแรงงานในการทำงานเป็นหลัก เป็นเครื่องแบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ต่อมาได้มีการพัฒนาเครื่องพิมพ์ให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ วิทยาการด้านการพิมพ์ได้แพร่หลายสู่ประเทศต่างๆอย่างรวดเร็ว ที่เมืองเวนิช(Venice) ประเทศอิตาลี อัลดุลมานูติอุส (Aldus Manutius) ช่างพิมพ์สามรถประดิษอักษรตัวเอน รวมถึงรูปแบบตัวอักษรที่เรียบง่ายเป็นจำนวนมาก
Phurit latloi
วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ผู้ประดิษฐ์แท่นพิมพ์ โยฮัน กูเตนเบิร์ก
ใน ปี ค.ศ. 1455 นายโยฮัน กูเตนเบิร์ก (Johann
Gutenberg) ได้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์โลหะผสมไ
นายกูเตนเบิร์ กยังได้พัฒนาเครื่องพิมพ์ หมึกพิมพ์ กระดาษที่ใช้พิมพ์
และกรรมวิธีในการพิมพ์ให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้รับการยกย่อง เป็น “บิดาแห่งการพิมพ์” การพิมพ์พื้นนูนที่เรียกเล็ตเตอร์เพรสส์ (Letter
Press) นี้จึงเป็นที่นิยมกันมากขึ้น
มีการตั้งโรงพิมพ์ขึ้นตามเมืองใหญ่ ๆ และเผยแพร่สู่ประเทศอเมริกา
เนื่องจากการเรียงพิมพ์ด้วยมือต้องใช้แรงงานและใช้เวลามาก
จึงมีการคิดค้นใช้เครื่องเรียงตัวอักษร (Linecast Typesetting) ซึ่งใช้ความร้อนหล่อตัวพิมพ์
จึงเรียก “ตัวพิมพ์แบบร้อน”
(Hot Type) ที่มีชื่อเสียง
คือ เครื่องเรียงไลโนไทป์ (Linotype) ซึ่ง จะทำการเรียงทีละบรรทัดนิยมใช้ในงานทำแม่พิมพ์หนังสือพิมพ์ และเครื่องเรียงโมโนไทป์ (Monotype) ซึ่งเป็นเครื่องที่เรียงออกมาเป็นตัวต่อกันเป็นบรรทัด นิยมใช้ในงานทำแม่พิมพ์หนังสือ ใน ค.ศ.1898 ได้มีการประดิษฐ์เครื่องเรียงพิมพ์ด้วยแสงขึ้น(Phototypesetting) ใช้สร้างตัวพิมพ์แบบ “ตัวพิมพ์แบบเย็น” (Cold Type) นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาแม่พิมพ์พื้นนูนแบบแผ่นด้วยการใช้วิธีฉายแสงโดยใช้ น้ำยาไวแสงฉาบลงบนแผ่นโลหะที่ใช้เป็นแม่พิมพ์ ทำให้การทำแม่พิมพ์สะดวกขึ้นเครื่อง จักรที่ใช้พิมพ์แบบพื้นนูนในยุคแรก ๆ อาศัยแรงงานในการทำงานเป็นหลัก เป็นเครื่องแบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ต่อมาได้มีการพัฒนาเครื่องพิมพ์ให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ วิทยาการด้านการพิมพ์ได้แพร่หลายสู่ประเทศต่างๆอย่างรวดเร็ว ที่เมืองเวนิช(Venice) ประเทศอิตาลี อัลดุลมานูติอุส (Aldus Manutius) ช่างพิมพ์สามรถประดิษอักษรตัวเอน รวมถึงรูปแบบตัวอักษรที่เรียบง่ายเป็นจำนวนมาก
คือ เครื่องเรียงไลโนไทป์ (Linotype) ซึ่ง จะทำการเรียงทีละบรรทัดนิยมใช้ในงานทำแม่พิมพ์หนังสือพิมพ์ และเครื่องเรียงโมโนไทป์ (Monotype) ซึ่งเป็นเครื่องที่เรียงออกมาเป็นตัวต่อกันเป็นบรรทัด นิยมใช้ในงานทำแม่พิมพ์หนังสือ ใน ค.ศ.1898 ได้มีการประดิษฐ์เครื่องเรียงพิมพ์ด้วยแสงขึ้น(Phototypesetting) ใช้สร้างตัวพิมพ์แบบ “ตัวพิมพ์แบบเย็น” (Cold Type) นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาแม่พิมพ์พื้นนูนแบบแผ่นด้วยการใช้วิธีฉายแสงโดยใช้ น้ำยาไวแสงฉาบลงบนแผ่นโลหะที่ใช้เป็นแม่พิมพ์ ทำให้การทำแม่พิมพ์สะดวกขึ้นเครื่อง จักรที่ใช้พิมพ์แบบพื้นนูนในยุคแรก ๆ อาศัยแรงงานในการทำงานเป็นหลัก เป็นเครื่องแบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ต่อมาได้มีการพัฒนาเครื่องพิมพ์ให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ วิทยาการด้านการพิมพ์ได้แพร่หลายสู่ประเทศต่างๆอย่างรวดเร็ว ที่เมืองเวนิช(Venice) ประเทศอิตาลี อัลดุลมานูติอุส (Aldus Manutius) ช่างพิมพ์สามรถประดิษอักษรตัวเอน รวมถึงรูปแบบตัวอักษรที่เรียบง่ายเป็นจำนวนมาก
วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ปี1ใหม่ NMC.CRRU 56
ผมเคยเป็นนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยพะเยา เมื่อปี 2555 ผมรู้สึกว่ามันไม่ใช่และผมเองก็ขี้เกียจ ติดเพื่อน ติดเกมส์ ติดเหล้า ทำให้ผลการเรียนในเทอม1 แย่มาก แต่ผมก็ไม่ได้ติดF แต่เทอม2ผมก็ทำเหมือนๆเคย แต่กลับดูแย่กว่าเดิมมาก ผมติด F 3 ตัว ผลการเรียนแย่ที่สุด เพื่อนผมเรียนอยู่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย แต่ลงคณะที่ตังเองไม่ชอบกำลังจะรีรหัส เพื่อนผมชวนเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยราชฏัชเชียงราย ผมคิดว่าต่อให้ผมเรียนที่มหาวิทยาลัยเดิม ผมก็คงเรียนไม่จบเพราะต้องเก็บหน่วยกิจเยอะ ผมไม่ใช่คนขยันอะไรมาก และที่มหาวิทยาลัยราชฏัชเชียงรายเก็บหน่วยกิจน้อยกว่า ผมจึงลองเข้าดูเพราะคิดว่ามหาวิทยาลัยราชฏัชเชียงรายคงจะสอนให้รู้จักกับประการณ์มากขึ้น พอเปิดเรียนผมได้เจอเพื่อน(อายุห่างจากผมปีหนึ่ง) มีกิจกรรมรับน้อง มันทำให้ผมเห็นเหมือนกำลังฉายหนังเรื่องเดิมอีกครั้ง แต่ไม่เหมือนเดิมคือ ผมกำลงัเริ่มต้นชีวิตใหม่ ในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งใหม่ เพื่อนใหม่ๆ ผมคิดว่าผมควรจะจริงจังกับชีวิตสักที ผมพลาดมาแล้ว1ปี มันเป็นบทเรียนสำคัญในชีวิตของผม อาจารย์มหาวิทยาลัยราชฏัชเชียงรายสอนง่ายและเข้าใจกว่ามหาวิทยาลัยเดิม ผมรักที่จะเรียนนิเทศ มันเป็นสาขาที่ผมรักเพราะผมก็ลงสาขานี้มหาวิทยาลัยพะเยาก่อนจะมาเรียนที่นี้และผมก็ยังคงเลือกลงสาขานี้ ที่นี้กิจกรรมรับน้องสนุกมากถึงแม้ผมจะเคยผ่านจุดๆนั้นมาก่อนแล้ว มันทำให้ผมสนุกและได้มิตรภาพมากขึ้น การเริ่มต้นครั้งนี้มันไม่เสียเปล่าเลย การที่ผมผิดพลาดไปแล้วและเริ่มต้นใหม่ได้มันเป็นเรื่องดี ผมจะทำเวลาที่สูญเสียไปเป็นประสบการณ์ราคาแพง ผมรู้สึกประทับใจมากที่ได้เข้าเรียนที่นี้ เวลาหลังจากนี้อีก3ปี ผมก็จะพยายนามเรียนให้จบและจบจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ มหาวิทยาลัยราชฏัชเชียงราย สาขานิเทศศาสตร์ การสื่อสารสื่อใหม่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)